ประวัติคอมพิวเตอร์
Charles Babbage – ได้ทำการออกแบบเครื่อง(Difference Engine) เมื่อปี ค.ศ.1822 ซึ่งโครงการดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุนและคำอนุญาตจากรัฐบาลเมื่อปี ค.ศ.1823 แต่การสร้างก็ไม่สมบูรณ์แบบ เหตุผลหนึ่งที่ตัดสินใจหยุดโครงการพัฒนาเครื่อง Difference Engine เนื่องจากได้ค้นพบว่ามีความไม่น่าเชื่อถือบางประการ จนกระทั่งต่อมา แบบแบจก็ได้ทำการพัฒนาเครื่องใหม่ภายใต้ชื่อว่า Analytical Engine ซึ่งประกอบไปด้วยสถานะหน่วยความจำที่สามารถจัดเก็บตัวเลขและนำไปคำนวณได้ ยิ่งไปกว่านั้น เครื่องดังกล่าวยังสามารถพิมพ์ข้อมูลได้อัตมัติ สามารถนำเข้าข้อมูลด้วยบัตรเจาะรูและใช้ชุดคำสั่งในการควบคุมเครื่อง Analytical Engine นี้ยังมีฟังก์ชันหน้าที่หลายๆอย่างเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบัน ดังนั้นแบบแบจจึงถูกขนานนามให้เป็น “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์”เป็นต้นมา
Lady Augusta Ada Byron – เธอเป็นสตรีคนสำคัญคนหนึ่งที่ช่วยออกแบบเครื่องของแบบแบจ อีกทั้งยังได้เสนอแนวคิดและเป็นผู้เขียนโปรแกรมชิ้นแรกเพื่อใช้กับเครื่องดังกล่าว ต่อมาเธอก็ได้ถูกขนานนามให้เป็น”โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก” นอกจากนี้ก็ยังได้มีการตั้งชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่งด้วยการใช้ชื่อของเธอ นั่นก็คือ ภาษาเอด้า นั่นเอง
Herma, Hollerith – ในปี ค.ศ.1887 เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ ได้การพัฒนาเครื่อง Tabulating Machines ขึ้น ซึ่งใช้กับบัตรเจาะรู สามารถจัดเรียงบัตรมากกว่า200ใบต่อนาที และก็ได้นำมาใช้งานสำรวจสำมะโนประชากรของอเมริกันหลายครั้งด้วยกัน และต่อมาในปี ค.ศ.1896 เฮอร์แมนก็ได้ทำการก่อตั้งบริษัทต้นเองขึ้นมาภายใต้ชื่อว่า The Tabulating Machine Company และอีกไม่นานก็ได้ทำการรวบรวมบริษัทกว่า 10 แห่งด้วยกันและก่อตั้งบริษัทใหม่ภายใต้ชื่อว่า International Business Machines ซึ่งในปัจจุบันก็คือบริษัทคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อเสียงทั่วโลกซึ่งก็คือบริษัท IBM นั่นเอง
Alan Turing - แอลัน ทัวริง พ.ศ. 2455-2497) บิดาแห่งวงการคอมพิวเตอร์แอลัน แมททิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing) (23 มิถุนายน ค.ศ. 1912 (พ.ศ. 2455) – 7 มิถุนายน ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยา และวีรบุรุษสงคราม ชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุอัลกอริทึมและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุกๆรูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
Konrad Zuse – คอนราด Zuse จาก 1941 ถือได้ว่าเป็นครั้งแรกของการทำงานที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องคอมพิวเตอร์อัตโนมัติเต็มรูปแบบที่ทันสมัย Thus, Zuse is often regarded as the inventor of the computer . [ 1 ] [ 2 ] [ 3 ] [ 4 ] ดังนั้น Zuse มักถูกมองว่าเป็นนักประดิษฐ์ของคอมพิวเตอร์ก่อนที่การพัฒนาของคอมพิวเตอร์วัตถุประสงค์ทั่วไปการคำนวณส่วนใหญ่ถูกทำโดยมนุษย์ Mechanical tools to help humans with digital calculations were then called "calculating machines", by proprietary names, or even as they are now, calculators . เครื่องกลเครื่องมือที่จะช่วยให้มนุษย์มีการคำนวณดิจิตอลถูกแล้วเรียกว่า "เครื่องคำนวณ" โดยชื่อที่เป็นกรรมสิทธิ์หรือแม้กระทั่งการที่พวกเขาเป็นตอนนี้ เครื่องคิดเลข
Prof.Howard H.Aiken - ฮาวเวิร์ดฮาธาเวย์ Aiken (8 มีนาคม 1900 - 14 มีนาคม 1973) เป็นผู้บุกเบิกใน การคำนวณ การออกแบบแนวคิดเดิมที่อยู่เบื้องหลัง ของไอบีเอ็ม ที่ ฮาร์วาร์ Mark l คอมพิวเตอร์
Dr.John V. Atanasoff & Clifford Berry – ในปี ค.ศ.1942 ดร.จอห์น วี อตานาซอฟฟ์ ( John V. Atanasoff) อาจารย์สาขาฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา ( Iowa State University) ได้ร่วมมือกับลูกศิษย์ของเขาคือ คลิฟฟอร์ด เบอร์รี่ (Clifford Berry) สร้างเครื่องมือที่อาศัยการทำงานของหลอดสุญญากาศเพื่อนำมาช่วยในงานประมวลผลทั่วไป โดยเรียกเครื่องคอมพิวเตอร์นี้ว่า เครื่อง “ABC” (เป็นการตั้งชื่อโดยนำเอาชื่อของทั้งสองมารวมกันคือ Atanasoff และ Berry)
Dr.John W. Manchly & J. Presper Eckert – ดร.จอห์น ดับบลิว มอชลี และ ศาสตราจารย์เอ็คเคิร์ต ได้สร้างเครื่อง ENIAC จนสำเร็จ โดยมีน้ำหนักมากถึง 30 ตัน ใช้หลอดสุญญากาศกส่า 18,000 หลอด โดยใช้เนื้อที่ในการติดตั้งประมาณ 30x50 ฟุต และใช้กำลังไฟฟ้าประมาณ 160 กิโลวัตต์
Dr.John Von Neumann – จอห์น ฟอน นอยมันน์ เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ ทฤษฎีเซต วิทยาการคอมพิวเตอร์ เศรษฐศาสตร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ ดร.จอห์น ฟอน นอยมานน์ ได้ค้นพบหลักการจัดการโปรแกรม โดยมีหน่วยความจำที่สามารถจัดเก็บได้ทั้งข้อมูลและโปรแกรม(Data and Instruction) ซึ่งหลักการดังกล่าวก็ได้นำมาใช้งานจนถึงทุกวันนี้
Dr.Ted Hoff – ดร.เทด ฮอฟฟ์ แห่งบริษัทอินเทล
ได้มีการพัฒนาไมโครโ)รเซสเซอร์รุ่น Intel 4004
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น