วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ยืนยัน Samsung Galaxy Note 3 มาพร้อม Android 4.3 เปิดตัว 4 กันยายนนี้


ยืนยัน Samsung Galaxy Note 3 มาพร้อม Android 4.3 เปิดตัว 4 กันยายนนี้


เหลือเวลาอีกไม่กี่สัปดาห์ ก็จะถึงงาน เปิดตัว Samsung Galaxy Note 3 (Note III) อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 4 กันยายนนี้แล้ว ล่าสุด ทางเว็บไซต์ SamMobile ได้เผยรายชื่อประเทศ ที่จะวางจำหน่ายSamsung Galaxy Note 3 โดยแบ่งเป็น 2 รุ่นก็คือ รุ่นใช้ชิป Exynos 5420 Octa และ Snapdragon 800



สำหรับประเทศไทยนั้น ได้ Samsung Galaxy Note 3 รุ่นชิป Exynos 5420 Octa ครับ โมเดล SM-N9000 ส่วนประเทศทางแถบยุโรป รวมถึงสหรัฐฯ จะเป็นชิป Snapdragon 800 โมเดล SM-N9005 ครับ ซึ่งทั้ง 2 โมเดลนี้ จะมีสเปคใกล้เคียงกัน ต่างกันตรงที่ ชิป Exynos 5420 Octa ไม่รองรับ 4G


ส่วนประเทศที่มีวางจำหน่ายทั้ง 2 รุ่น ก็ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของ ซัมซุง ในประเทศดังกล่าว นอกจากนี้ ในประเทศจีน จะมี Samsung Galaxy Note 3 จะเป็นโมเดล SM-N9002 ซึ่งรองรับการใช้งาน 2 ซิมการ์ดครับ - gsmarena.com

ยืนยันอย่างเป็นทางการแล้วครับ กับงาน Samsung Unpacked ที่เบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 4 กันยายนนี้อย่างแน่นอน และคาดกันว่า ในงานจะมีการ เปิดตัว Samsung Galaxy Note 3 (Note III) ด้วยเช่นกัน
โดยโลโก้ของงานนั้น ยังคงเป็นรูปกล่อง ที่ในคราวนี้ ถูกออกแบบมาเป็นภาพสเก็ต คาดว่า น่าจะเป็นการบอกใบ้ การใช้งานปากกา S Pen บน Samsung Galaxy Note 3 (Note III) อย่างไรก็ดี ยังไม่มีรายละเอียดว่า Samsung Galaxy Note 3 จะมีสเปคเป็นเช่นไร

นอกจากนี้ ซัมซุง ยังจัดถ่ายทอดสด งานเปิดตัว Samsung Unpacked ไปยัง Times Square ในสหรัฐฯ ด้วย ซึ่งรายละเอียดของงานจะเป็นเช่นไร ติดตามกันได้ครับ - phonearena.com



เรียกได้ว่า สาวก Galaxy Note 3 เตรียมเก็บเงินรอไว้ได้เลยครับ เพราะ Samsung Galaxy Note 3เตรียมเปิดตัวเร็วๆ นี้แน่นอน โดยล่าสุด ได้มีผลทดสอบ AnTuTu benchmark หลุดออกมาแล้ว


โดยในรายละเอียดของ AnTuTu นั้น ได้เผยให้เห็นสมาร์ทโฟนรุ่นหนึ่ง รหัส GT-N7200 ที่คาดว่า เป็น Samsung Galaxy Note 3 (Note III) อย่างแน่นอน (Samsung Galaxy Note 2 รหัส GT-N7100) ที่สามารถทำคะแนนไปได้ถึง 27,914 คะแนน ผ่านซีพียูความเร็ว 1.6GHz คาดกันว่า ซีพียูที่ใช้บน Samsung Galaxy Note 3 นั้น น่าจะเป็นตัวเดียวกับที่ใช้บนSamsung Galaxy S4 ครับ เนื่องจากสามารถทำคะแนนทดสอบออกมาได้ใกล้เคียงกันมาก (Samsung Galaxy S4 ได้ 27,417 คะแนน)


นอกจากนี้ Samsung Galaxy Note 3 (Note III) ยังมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Android 4.3 Jelly Bean อีกด้วยครับ ส่วน Samsung Galaxy Note 3 จะเปิดตัวในงาน IFA 2013 ปลายเดือนสิงหาคมนี้หรือไม่ เร็วๆ นี้ได้ทราบกันอย่างแน่นอนครับ - phonearena.com

วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กอร์ดอนมัวร์อี

Moore's law(กฎของมัวร์)



กฎของมัวร์เป็นคำที่คอมพิวเตอร์ที่เกิดขึ้นรอบ 1970; ฉบับง่ายนี้รัฐกฎหมายที่ความเร็วในการประมวลผลหรือพลังการประมวลผลโดยรวมของ    เครื่องคอมพิวเตอร์จะเป็นสองเท่าทุกสองปี ตรวจสอบอย่างรวดเร็วในหมู่ช่าง ใน บริษัท คอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันแสดงให้เห็นว่าคำว่าไม่เป็นที่นิยมมาก แต่การปกครองยังคงเป็นที่ยอมรับ
จะทำลายลงกฎหมายให้ดียิ่งขึ้นก็เฉพาะตามที่ระบุว่าจำนวนของทรานซิสเตอร์บน CPU ราคาไม่แพงจะเป็นสองเท่าทุกสองปี (ซึ่งเป็นหลักเดียวกับที่ระบุไว้ก่อน) แต่ 'ทรานซิสเตอร์มากขึ้นถูกต้องมากขึ้น
 ถ้าคุณมองไปที่ความเร็วในการประมวลผลจากปี 1970 ถึง 2009 และอีกครั้งในปี 2010, หนึ่งอาจคิดว่ากฎหมายได้ก้าวมาถึงขีด จำกัด หรือใกล้ขีด จำกัด ในปี 1970 ความเร็วในการประมวลผลที่แตกต่างกันตั้งแต่ 740 KHz ไป 8MHz; สังเกตว่า 740 KHz ซึ่งเป็นกิโลเฮิร์ตซ์ - ในขณะที่ 8 MHz ซึ่งเป็นเมกะเฮิร์ตซ์เป็น
จาก 2000 - 2009 มีไม่ได้จริงๆมากของความเร็วแตกต่างกันในขณะที่ช่วงความเร็วจาก 1.3 GHz ถึง 2.8 GHz ซึ่งแสดงให้เห็นว่าความเร็วที่ไ​​ด้แทบจะไม่เป็นสองเท่าในช่วง 10 ปี นี้เป็นเพราะเรากำลังมองหาด้วยความเร็วและไม่ได้จำนวนทรานซิสเตอร์; ในปี 2000 จำนวนของทรานซิสเตอร์ใน CPU หมายเลข 37500000 ในขณะที่ในปี 2009 จำนวนขึ้นไปโดดเด่น 904000000; นี้เป็นเหตุผลที่มันเป็นความแม่นยำมากขึ้นไป ใช้กฎหมายเพื่อทรานซิสเตอร์กว่าเพื่อเพิ่มความเร็ว
ที่มีทั้งหมดพูดคุยของทรานซิสเตอร์นี้ผู้ใช้ช่างหรือคอมพิวเตอร์เฉลี่ยอาจจะ ไม่เข้าใจสิ่งที่หมายถึงตัวเลข; วิธีที่ง่ายที่จะอธิบายก็คือซีพียูก่อนหน้านี้ในตลาดมีความเร็วเดียวหรือ คะแนนความถี่ในขณะที่รูปแบบใหม่มีคะแนนซึ่งหมายถึง มากกว่าหนึ่ง CPU

 หาก คุณได้ซื้อคอมพิวเตอร์เมื่อเร็ว ๆ นี้คุณอาจจะมีความคิดของสิ่งนี้หมายถึงการเป็นพนักงานขายอาจจะขายคุณในสิ่ง มหัศจรรย์ของมัลติคอร์ซีพียู ในตัวอย่างดังกล่าวข้างต้นด้วยความเร็วเกินกว่าจำนวนมากของปีไประหว่าง 1.3 และ 2.8 ซึ่งเป็นคู่แทบจะไม่ แต่สิ่งที่จะต้องเก็บไว้ในใจก็คือ 2.8 เป็นแกนรูปสี่เหลี่ยมในขณะที่ 1.3 เป็นหลักเดียว ซึ่งหมายความว่าอำนาจที่แท้จริงของ 2.8 จะพบถ้าคุณคูณด้วยสี่ - ที่จะให้คุณมหันต์ 11.2 ซึ่งเป็นหนทางไกลจาก 1.3
เนื่องจากอัตราที่รวดเร็วว่าเทคโนโลยีได้เติบโตขึ้นในไม่กี่ปีที่ผ่านมาส่วน ใหญ่ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ที่คุณพูดคุยกับ - ว่าพวกเขาเคยได้ยินจากกฎของมัวร์หรือจะไม่บอกคุณว่าความเร็วของ CPU สองในแต่ละปี แม้ว่ากฎของมัวร์ได้กล่าวทุกสองปีนี้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในการผลิตเทคโนโลยีได้ลดระยะเวลาในใจของช่างเทคนิคและผู้ใช้เหมือนกัน
ข้อ จำกัด ที่มีอยู่ก็คือทรานซิสเตอร์ครั้งเดียวที่สามารถสร้างขึ้นมีขนาดเล็กเป็น อนุภาคอะตอมแล้วจะไม่มีห้องพักมากขึ้นสำหรับการเจริญเติบโตในตลาดซีพียูที่ ความเร็วในการมีความกังวล



 

วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รหัสแทนข้อมูล ( รหัส ASCII และ รหัส Unicode )


                                                       รหัส ASCII


แอสกี หรือ รหัสมาตรฐาน ของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (อังกฤษ: ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็รหัสอักขระที่ประกอบด้วอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น


ประวัติ รหัสแอสกีมีใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือสื่อสารแบบดิจิทัลต่างๆ พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการ X3 ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมมาตรฐานอเมริกา (American Standards Association) ภายหลังกลายเป็น สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (American National Standard Institute : ANSI) ในปี ค.ศ. 1969 โดยเริ่มต้นใช้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1967 ซึ่งมีอักขระทั้งหมด 128 ตัว (7 บิต) โดยจะมี 33 ตัวที่ไม่แสดงผล (unprintable/control character) ซึ่งใช้สำหรับควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์บางประการ เช่น การขึ้นย่อหน้าใหม่สำหรับการพิมพ์ (CR & LF - carriage return and line feed) การสิ้นสุดการประมวลผลข้อมูลตัวอักษร (ETX - end of text) เป็นต้น และ อีก 95 ตัวที่แสดงผลได้ (printable character) ดังที่ปรากฏตามผังอักขระ (character map) ด้านล่าง รหัสแอสกีได้รับการปรับปรุงล่าสุดเมื่อ ค.ศ. 1986 ให้มีอักขระทั้งหมด 256 ตัว (8 บิต) และเรียกใหม่ว่าแอสกีแบบขยาย อักขระที่เพิ่มมา 128 ตัวใช้สำหรับแสดงอักขระเพิ่มเติมในภาษาของแต่ละท้องถิ่นที่ใช้ โดยจะมีผังอักขระที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาซึ่งเรียกว่า โคดเพจ (codepage) โดยอักขระ 128 ตัวแรกส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกันแทบทุกโคดเพจ มีส่วนน้อยที่เปลี่ยนแค่บางอักขระ

ASCII เป็นรูปแบบปกติของไฟล์ข้อความ (text file) ในคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต ในไฟล์ ASCII อักษรแต่ละตัว ตัวเลข หรืออักษรพิเศษ จะได้รับการแสดงด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่งสามารถใช้ระบุตัวอักษรได้ 128 ตัว

ระบบ ปฏิบัติการ UNIX และ DOS (ยกเว้น Windows NT) ใช้ ASCII สำหรับไฟล์ข้อความ ระบบ Windows NT ใช้รหัสแบบใหม่ คือ Unicode ในระบบ IBM 390 ใช้รหัส 8 หลัก เรียกว่า extended binary-decimal interchange code โปรแกรมแปลงยินยอมให้ระบบปฏิบัติที่แตกต่างกันแปลงไฟล์จากรหัสหนึ่งเป็น อีกรหัสหนึ่ง

ตัวอย่าง รหัสแทนข้อมูลแบบ ASCII

บิตที่
7
6
5
4
3
2
1
0


0
0
1
1
0
1
1
1
แทน 7

0
1
0
0
0
1
1
1
แทน G

0
1
1
0
0
1
1
1
แทน g

0
1
0
0
1
0
1
0
แทน J

0
0
1
0
1
0
1
1
แทน +

จากหลักการของระบบเลขฐานสอง แต่ละบิตสามารแทนค่าได้ 2 แบบ คือ เลข 0 หรือเลข 1 ถ้าเราเขียนเลขฐานสอง เรียงกัน 2 บิต ในการแทนอักขระ เราจะมีรูปแบบในการแทนอักขระได้ 2 หรือ 4 รุปแบบคือ 00 ,01 ,10 ,11 ดังนั้นในการใช้รหัสแอสกีซึ่งมี 8 บิต ในการแทนอักขระแล้ว เราจะมีรูปแบบที่ใช้แทนถึง 28 หรือ 256 รูปแบบ ซึ่งเมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้ว ยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ.จึงได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกัน

ตัวอย่าง การแทนข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์

A
0100 0001
X
0101 1000
B
0100 0010
Y
0101 1001
C
0100 0011
Z
0101 1010
D
0100 0100
0
0011 0000
E
0100 0101
1
0011 0001
F
0100 0110
2
0011 0010
G
0100 0111
3
0011 0011
H
0100 1000
4
0011 0100
I
0100 1001
5
0011 0101
J
0100 1010
6
0011 0110
K
0100 1011
7
0011 0111
L
0100 1100
8
0011 1000
M
0100 1101
9
0011 1001
N
0100 1110
.
0010 1110
O
0100 1111
(
0010 1000
P
0101 0000
+
0010 1011
Q
0101 0001
$
0010 0100
R
0101 0010
*
0010 1010
S
0101 0011
)
0010 1001
T
0101 0100
-
0010 1101
U
0101 0101
/
0010 1111
V
0101 0110
'
0010 1100
W
0101 0111
=
0010 1101


รหัส UNICODE



Unicode คืออะไร ยูนิโค๊ด คือ รหัสคอมพิวเตอร์ใช้แทนตัวอักขระ สามารถใช้แทน ตัวอักษร,ตัวเลข,สัญลักษณ์ต่างๆ ได้มากกว่ารหัสแบบเก่าอย่าง ASCII ซึ่งเก็บตัวอักษรได้สูงสุดเพียง 256 ตัว(รูปแบบ) โดย Unicdoe รุ่นปัจจุบันสามารถเก็บตัวอักษรได้ถึง 34,168 ตัวจากภาษาทั้งหมดทั่วโลก 24 ภาษา โดยไม่สนใจว่าเป็นแพลตฟอร์มใด ไม่ขึ้นกับโปรแกรมใด หรือภาษาใด unicode ได้ถูกนำไปใช้โดยผู้นำในอุตสาหกรรม เช่น Apple, HP, IBM, Microsoft, Unix ฯลฯ และเป็นแนวทางอย่างเป็นทางการในการทำ ISO /IEC 10646 ดังนั้น Unicode จึงถือเป็นมาตรฐานในการกำหนดรหัส สำหรับทุกตัวอักษร ทุกอักขระ unicode ทำให้ข้อมูลสามารถเคลื่อนย้ายไปมาในหลายๆ ระบบ ข้ามแพลตฟอร์มไปมา หรือข้ามโปรแกรมได้อย่างสะดวก โดยไร้ข้อจำกัด

Unicode ต่างจาก ASCII คือ ASCII เก็บ byte เดียว แต่ Unicode เก็บ 2 byte ซึ่งข้อมูล 2 byte เก็บข้อมูลได้มากมายมหาศาล สามารถเก็บข้อมูลได้มากมายหลายภาษาในโลก
อย่างภาษาไทยก็อยู่ใน Unicode นี้ด้วยเหมือนกัน ดังนั้นรหัสภาษาไทยเอาไปเปิดในภาษาจีน ก็ยังเป็นภาษาไทยอยู่ ไม่ออกมาเป็นภาษาจีน เพราะว่ามี code ตายตัวอยู่ว่า code นี้จองไว้สำหรับภาษาไทย แล้ว code ตรงช่วงนั้นเป็นภาษาจีน ตรงโน่นเป็นภาษาญี่ปุ่น จะไม่ใช้ที่ซ้ำกัน เป็นต้น

Unicode คืออะไร ยูนิโค๊ด คือ รหัสคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข และ สัญลักษณ์ต่างๆ
ยูนิโคด (อังกฤษ: Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง (เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรูที่เขียนจากขวาไปซ้าย)

ยูนิโคดคอนซอร์เทียม (Unicode Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนายูนิโคด องค์กรนี้มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการแทนที่การเข้ารหัสอักขระที่มีอยู่ด้วยยูนิโคดและมาตรฐานรูปแบบการแปลงยูนิโคด (Unicode Transformation Format: UTF) แต่ก็เป็นที่ยุ่งยากเนื่องจากแผนการที่มีอยู่ถูกจำกัดไว้ด้วยขนาดและขอบเขต ซึ่งอาจไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมหลายภาษาในคอมพิวเตอร์
ความสำเร็จของยูนิโคดคือการรวมรหัสอักขระหลายชนิดให้เป็นหนึ่งเดียว นำไปสู่การใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นั่นคือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา มาตรฐานนี้มีการนำไปใช้เป็นเทคโนโลยีหลักหลายอย่าง

ยูนิโคดสามารถนำไปใช้งานได้ด้วยชุดอักขระแบบต่าง ๆ ชุดอักขระที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ UTF-8 (ใช้ 1 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัวในรหัสแอสกีและมีค่ารหัสเหมือนกับมาตรฐานแอสกี หรือมากกว่านั้นจนถึง 4 ไบต์สำหรับอักขระแบบอื่น) UCS-2 ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว (ใช้ 2 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัว แต่ไม่ครอบคลุมอักขระทั้งหมดในยูนิโคด) และ UTF-16 (เป็นส่วนขยายจาก UCS-2 โดยใช้ 4 ไบต์สำหรับแทนรหัสอักขระที่ขาดไปของ UCS-2)


                                    ชื่อ - นามสกุล ASCII

                                         APICHAYA NANAKORN  

A          0100 0001
P          0101 0000
I           0100 1001
C          0100 0011
H          0100 1000
A          0100 0001
Y          0101 1001
A          0100 0001
SPACE   0100 0000
N          0100 1110
A          0100 0001
N          0100 1110
A          0100 0001
K          0100 1011
O          0100 1111
R          0101 0010
N          0100 1110

                              *** ใช้พื้นที่จัดเก็บจำนวน 136 bit 17 byte ***